-
สเปซชิปทู
สเกลด์คอมโพสิตส์ รุ่น 339 สเปซชิปทู หรือ เอสเอสทู (อังกฤษ: Scaled Composites Model 339 SpaceShipTwo, SS2) เป็นเครื่องบินอวกาศแบบวงโคจรย่อยออกแบบสำหรับการท่องเที่ยวอวกาศ ผลิตโดยเดอะสเปซชิปคอมปะนี joker123 สเปสชิปทูถูกขนไปยังความสูงปล่อยตัวโดยสเกลด์คอมโพสิตส์ไวท์ไนท์ทู (Scaled Composites White Knight Two) ก่อนถูกปล่อยตัวให้บินไปยังชั้นบรรยากาศส่วนบนด้วยเครื่องยนต์จรวด จากนั้นจึงร่อนกลับมายังโลกและจอดบนรันเวย์แบบเครื่องบินปกติ[1] ยานอวกาศนี้เปิดตัวสู่สาธารณะเมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2552[2] เกือบสามปีหลังจากการทดสอบบินโดยไม่ใช้เครื่องยนต์ก็ได้มีการทดสอบบินแบบใช้เครื่องยนเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2556[3] เวอร์จินกาแลกติกวางแผนจะบริหารหมู่กองบินเครื่องบินอวกาศประกอบด้วยสเปซชิปทูจำนวนห้าลำให้เป็นบริการขนส่งผู้โดยสารเอกชน[4][5][6][7] และได้เริ่มเปิดรับจองแล้วบางส่วน โดยมีราคาตั๋วเที่ยวแบบวงโคจรย่อยอยู่ที่ 250,000 ดอลลาห์สหรัฐ[8] เครื่องบินอวกาศนี้ยังสามารถใช้ขนส่งสิ่งของทางวิทยาสตร์สำหรับนาซาและองค์กรอื่น ๆ[9] สล็อต เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ระหว่างเที่ยวบินทดสอบ VSS Enterprise เครื่องบินสเปสชิปทูลำแรกหักกลางอากาศและตกลงบนทะเลทรายโมฮาวี[10][11][12][13] การตรวจสอบเบื่องต้นชี้ว่าอาจเป็นเพราะระบบลดระดับได้ทำงานก่อนกำหนด[14][15] นักบินหนึ่งคนเสีนชีวิตส่วนอีกคนบาดเจ็บสาหัดที่หัวไหล่ระหว่างกระโดดร่มชูชีพลงมาจากเครื่องบิน[16] เครื่องบินสเปซชิปทูลำที่สอง VSS Unity เปิดตัวเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559[17][18] ขณะนี้กำลังอยู่ระหว่างการทดลองบิน “สเปซชิปทู” ยานอวกาศเพื่อการท่องเที่ยวในห้วงอวกาศของบริษัท เวอร์จิน กาแลคติค ของ ริชาร์ด แบรนสัน มหาเศรษฐีชาวอังกฤษ ทดสอบการบินอิสระจากยานแม่เป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 ธันวาคมที่ผ่านมา บริเวณท่าอวกาศยานและการบินโมฮาเว ในทะเลทรายโมฮาเว ซึ่งตั้งอยู่ห่างออกไปราว 320 กิโลเมตร ทางตอนเหนือของนครลอสแองเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา สล็อตออนไลน์ “สเปซชิปทู” เป็นยานอวกาศเพื่อการ พาณิชย์รุ่นที่ 2 ของเวอร์จิน กาแลคติค หลังจากที่ยานลำแรกประสบเหตุเสียหายระหว่างการทดลองการบินเมื่อเดือนตุลาคมปี 2014 จนเป็นเหตุให้ผู้ช่วยนักบินเสียชีวิต สเปซชิปทู ประกอบด้วยยาน 2 ลำ ที่สามารถแยกเป็นอิสระออกจากกันได้ ยานลำแรกเป็นยานแม่ชื่อ “ไวท์ไนท์ทู” ส่วนยานท่องอวกาศจริงๆ นั้นเป็นยานอวกาศ 6 ที่นั่งซึ่ง ศาสตราจารย์ สตีเฟน ฮอว์กิ้ง นักทฤษฎีฟิสิกส์ชื่อดังชาวอังกฤษตั้งชื่อให้ว่า “ยูนิตี” สามารถแยกเป็นอิสระจากยานแม่ได้เมื่อถูกนำส่งขึ้นสู่ห้วงอวกาศ ก่อนที่จะกลับเข้าสู่บรรยากาศและลงจอดได้ด้วยตัวเอง ในการทดสอบครั้งนี้…