• star

    ดาวแปรแสง

    ดาวแปรแสง (อังกฤษ: Variable Star) คือดาวฤกษ์ ที่มีความสว่างเปลี่ยนแปลงอย่างมาก แตกต่างจากดาวฤกษ์ส่วนใหญ่ในท้องฟ้าที่มีสภาพส่องสว่างเกือบคงที่ ดวงอาทิตย์ของเรา เป็นตัวอย่างที่ดีของดาวฤกษ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงของความสว่างน้อยมาก (โดยปกติเปลี่ยนแปลงประมาณ 0.1% ในวัฏจักรสุริยะ 11 ปี) ดาวแปรแสงมีทั้งที่เปลี่ยนแปลงความสว่างจาก ปัจจัยภายใน และ ปัจจัยภายนอก ตัวอย่างดาวฤกษ์ดวงที่เห็นได้ชัดเจนคือ “ดาวบีเทลจุส” ในกลุ่มดาวนายพราน joker123 การสังเกตดาวคู่ดาวคู่ เป็นดาวสองดวงที่โคจรรอบกันและกัน เมื่อเกิดการบังกันทำให้ความสว่างโดยรวมเปลี่ยนแปลงเป็นคาบ เราสามารถวิเคราะห์ดาวคู่ได้โดยการวัดแสงและโฟโตสเปกโทรเมตรี การสังเกตความสว่างของดาวคู่เทียบกับดาวฤกษ์ที่มีความสว่างคงที่ ทำให้สามารถวาดกราฟความสว่างออกมาได้ ดาวแปรแสงที่มีลักษณะการเปลี่ยนแปลงความสว่างอย่างสม่ำเสมอจะมีคาบและแอมพลิจูดแน่นอน อย่างไรก็ตาม ค่าที่วัดได้อาจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ เมื่อเวลาผ่านไป จุดในกราฟที่ดาวมีความสว่างสูงสุด เรียกว่า จุดสูงสุด (maxima) อีกจุดที่มีความสว่างน้อยที่สุดเรียกว่า จุดต่ำสุด (minima) การจัดประเภทดาวแปรแสงสามารถแบ่งได้เป็น 2 พวกคือ intrinsic หรือ extrinsic ดาวแปรแสงชนิด Intrinsic : คือดาวฤกษ์ที่มีการแปรแสงเกิดจากความเปลี่ยนแปลงของคุณสมบัติทางกายภาพภายในของดาวเอง สามารถแบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อยได้แก่Pulsating variables, คือดาวฤกษ์ที่มีการขยายขนาดรัศมีใหญ่ขึ้นอันเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการวิวัฒนาการตามอายุของดาวEruptive variables, คือดาวฤกษ์ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันที่พื้นผิวของดาว เช่น การเกิด flare หรือการพวยพุ่งของมวลดาว สล็อต Cataclysmic หรือ explosive variables, คือดาวฤกษ์ที่กำลังเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลง cataclysmic เช่น การเกิดโนวา หรือ ซูเปอร์โนวาดาวแปรแสงชนิด Extrinsic : คือดาวฤกษ์ที่มีการแปรแสงเกิดจากคุณสมบัติภายนอกของดาว เช่น การหมุน การเกิดคราส แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่การเกิดคราสของดาวคู่หรือดาวแฝด ซึ่งจากมุมมองบนโลกจะมองเห็นดาวฤกษ์บังกันและกันเป็นบางครั้งตามรอบของการโคจรดาวแปรแสงจากการหมุน คือดาวฤกษ์ที่มีการแปรแสงอันเกิดการปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการหมุนของดาว ตัวอย่างเช่น ดาวฤกษ์ที่มีจุดมืดขนาดใหญ่มาก ๆ จะส่งผลต่อความสว่างที่ปรากฏออกมา หรือดาวฤกษ์ที่มีอัตราการหมุนรอบตัวเองเร็วมากก็สามารถมองเห็นเป็นรูปทรงอย่างไข่ได้ดาวแปรแสงชนิด Intrinsicดาวแปรแสงชนิดเซเฟอิดดาวแปรแสงชนิดอาร์อาร์ พิณดาวแปรแสงชนิดดับเบิลยูหญิงสาวดาวแปรแสงคาบยาวดาวแปรแสงมิราดาวแปรแสงชนิดอาร์วี วัวดาวแปรแสงกลุ่มดาวนายพราน ดาวแปรแสง คือดาวฤกษ์ที่มีค่าความส่องสว่างเปลี่ยนแปลงไปแบบสุ่มแบบเป็นรอบเวลา เนื่องมาจากคุณสมบัติทั้งภายในและภายนอกของดาว สำหรับดาวแปรแสงแบบคุณสมบัติภายในสามารถแบ่งเบื้องต้นออกได้เป็น 3 ประเภท สล็อตออนไลน์ ในระหว่างการวิวัฒนาการของดาว ดาวฤกษ์บางดวงอาจผ่านช่วงเวลาที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปรเป็นห้วง ๆ ดาวแปรแสงแบบเป็นห้วงเวลาจะเปลี่ยนแปลงไปตามรัศมีและความส่องสว่าง ทั้งขยายขึ้นและหดสั้นลงในช่วงเวลาที่แตกต่างกันตั้งแต่หน่วยนาทีไปจนถึงเป็นปี ขึ้นอยู่กับขนาดของดาวฤกษ์นั้น ๆ ดาวแปรแสงประเภทนี้รวมไปถึงดาวแปรแสงชนิดเซเฟอิดและดาวที่คล้ายคลึงกับดาวเซเฟอิด รวมถึงดาวแปรแสงคาบยาวเช่น ดาวมิรา[127] ดาวแปรแสงแบบพวยพุ่ง…

  • star

    ดาวแปรแสง

    ดาวแปรแสง” (Variable star) คือ ดาวที่มีแสงสว่างไม่คงที่ ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากหลายสาเหตุแตกต่างกันไป ดาวแปรแสงจึงมีหลายชนิด แบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ joker123 1.ดาวแปรแสงแบบยุบพอง เป็นดาวที่มีการเปลี่ยนแปลงค่าความสว่าง อุณหภูมิ เนื่องจากกลไกภายในตัวดาวอันได้แก่ แรงโน้มถ่วงและแรงดันก๊าซ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผิวของดาว เช่น ดาวแปรแสงแบบเซฟีด และ RR Lyrae เป็นดาวแปรแสงแบบยุบพองประเภทหนึ่ง ซึ่งสามารถใช้วัดระยะห่างของวัตถุในห้วงอวกาศได้ เพราะคาบการแปรแสงของดาวแปรแสงมีความสัมพันธ์กับกำลังส่องสว่าง ยกตัวอย่าง ข้อมูลจากกราฟในภาพที่ 1 แสดงว่า ดาวแบบเซฟีดที่มีคาบการแปรแสง 20 วัน มีกำลังส่องสว่าง 10,000 เท่าของดวงอาทิตย์ หากนักดาราศาสตร์ตรวจพบ ดาวแปรแสงประเภทนี้ในกาแล็กซีที่อยู่ห่างไกล ก็สามารถนำค่ากำลังส่องสว่างที่ลดลง มาคำนวณเทียบหาระยะทางของกาแล็กซีนั้นได้ 2.ดาวแปรแสงแบบประทุ ดาวแปรแสงแบบประทุ เป็นดาวในระบบดาวคู่ที่ดาวอีกดวงหนึ่งสามารถถ่ายเทมวล ให้แก่ดาวคู่ของมันได้ และเมื่อมีการถ่ายเทมวลของไฮโดรเจนลงสู่ผิวของดาวอีกดวง มวลของไฮโดรเจนจะไหลวนก่อนลงสู่ผิวของดาว ซึ่งเรียกว่า จานรวมมวล (Accretion disk) การเสียดสีของมวลไฮโดรเจนที่จานรวมมวล จะทำให้เกิดพลังงานความร้อนที่สูงมากจนสามารถแผ่รังสีเอ็กซ์ และเมื่อมวลของไฮโดรเจนตกลงสู่ผิวดาว ความกดที่มากขึ้นทำให้เกิดอุณหภูมิสูงกระทั่งเกิดนิวเคลียร์ฟิวชัน เปลี่ยนแปลงความสว่างของดาว 3.ดาวแปรแสงแบบอุปราคา ที่ดาวมีการเปลี่ยนแปลงความสว่าง เนื่องจากดาวคู่โคจรมาบดบังกันในแนวสายตาที่ทำกับโลก ทำให้เกิดอุปราคา เมื่อดาวทั้งสองบังกันแสงของดาวจะน้อยลง เมื่อดาวทั้งสองอยู่ในแนวตั้งกับแนวสายตาที่มองจากโลก แสงของดาวทั้งสองเสริมกัน เส้นกราฟแสงของดาวจึงเปลี่ยนแปลงเป็นเป็นคาบๆ ดังภาพที่ 3 สล็อต ดาวแปรแสง คือดาวฤกษ์ที่มีค่าความส่องสว่างเปลี่ยนแปลงไปแบบสุ่มแบบเป็นรอบเวลา เนื่องมาจากคุณสมบัติทั้งภายในและภายนอกของดาว สำหรับดาวแปรแสงแบบคุณสมบัติภายในสามารถแบ่งเบื้องต้นออกได้เป็น 3 ประเภท ในระหว่างการวิวัฒนาการของดาว ดาวฤกษ์บางดวงอาจผ่านช่วงเวลาที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปรเป็นห้วง ๆ ดาวแปรแสงแบบเป็นห้วงเวลาจะเปลี่ยนแปลงไปตามรัศมีและความส่องสว่าง ทั้งขยายขึ้นและหดสั้นลงในช่วงเวลาที่แตกต่างกันตั้งแต่หน่วยนาทีไปจนถึงเป็นปี ขึ้นอยู่กับขนาดของดาวฤกษ์นั้น ๆ ดาวแปรแสงประเภทนี้รวมไปถึงดาวแปรแสงชนิดเซเฟอิดและดาวที่คล้ายคลึงกับดาวเซเฟอิด รวมถึงดาวแปรแสงคาบยาวเช่น ดาวมิรา ดาวแปรแสงแบบพวยพุ่ง (Eruptive variables) คือดาวฤกษ์ที่มีความส่องสว่างเพิ่มขึ้นแบบทันทีทันใด อันเนื่องมาจากแสงวาบหรือการปลดปล่อยมวลอย่างฉับพลัน ดาวแปรแสงจำพวกนี้รวมไปถึงดาวฤกษ์ก่อนเกิด ดาวฤกษ์ประเภท Wolf-Rayet ดาวแปรแสงประเภท Flare และดาวยักษ์ รวมถึงดาวยักษ์ใหญ่ ดาวแปรแสงแบบระเบิด (Cataclysmic หรือ Explosive variables) คือดาวที่มีการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติภายใน ดาวจำพวกนี้รวมไปถึงโนวาและซูเปอร์โนวา ระบบดาวคู่ที่มีดาวแคระขาวอยู่ใกล้ ๆ ก็อาจทำให้เกิดการระเบิดของดาวฤกษ์ในลักษณะนี้ รวมถึงโนวา และซูเปอร์โนวาประเภท 1a การระเบิดเกิดขึ้นเมื่อดาวแคระขาวดึงไฮโดรเจนจากดาวคู่ของมันและพอกพูนมวลมากขึ้นจนกระทั่งไฮโดรเจนมีมากเกินกว่ากระบวนการฟิวชั่น โนวาบางชนิดยังเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีก ทำให้เกิดคาบการระเบิดเป็นช่วง…