star

ไอโอ

ไอโอ (อังกฤษ: Io, กรีก: Ἰώ) เป็นดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี เป็นดวงที่อยู่ในสุดในกลุ่มดวงจันทร์ของกาลิเลโอที่ค้นพบโดยกาลิเลโอ กาลิเลอี เมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1610 ตั้งชื่อตามไอโอนักบวชของเฮราที่ตกเป็นภรรยาของซูส

joker123

ไอโอมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3,642 กิโลเมตร เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่อันดับสี่ในระบบสุริยะ พื้นผิวดาวบริวารมีภูเขาไฟที่ยังไม่ดับมากกว่า 400 ลูก ซึ่งยังปะทุซัลเฟอร์และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ออกมาเป็นครั้งคราว

ไอโอ (อังกฤษ: Io, กรีก: Ἰώ) เป็นดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี เป็นดวงที่อยู่ในสุดในกลุ่มดาวบริวารของกาลิเลโอ ถูกค้นพบโดยกาลิเลโอ กาลิเลอี เมื่อวันที่ 7 มกราคม ค.ศ. 1610 ตั้งชื่อตาม ไอโอ นักบวชของเฮรา ที่ตกเป็นภรรยาของซูส

ไอโอมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3,642 กิโลเมตร เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่อันดับสี่ในระบบสุริยะ พื้นผิวดาวบริวารมีภูเขาไฟที่ยังไม่ดับมากกว่า 400 ลูก ซึ่งยังปะทุซัลเฟอร์ และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกมาเป็นครั้งคราว

ไอโอ ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี มีสีเหลืองสด เพราะเกิดจากกำมะถันและหินซิลิเกตที่หลอมละลาย พื้นผิวที่ดูผิดปกติของไอโอนี้มีอายุน้อยมาก เกิดจากภูเขาไฟที่ยังมีพลังอยู่ ซึ่งภูเขาไฟจำนวนมากบนไอโอนี้เกิดจากแรงรบกวนจากแรงโน้มถ่วงอันมหาศาลของดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์กาลิเลียนดวงอื่นๆ

สล็อต

แรงเสียดที่เกิดขึ้นจากการที่มันถูกแรงโน้มถ่วงดึงยืดอย่างรุนแรง ส่งผลให้เิกิดความร้อนขึ้นอย่างมหาศาลภายในดวงจันทร์ไอโอ จนทำให้หินหลอมเหลวภายในไอโอระเบิดออกมาสู่ภายนอก ภูเขาไฟอันทรงพลังของไอโอที่คอยระบายความร้อนภายในตัวดวงจันทร์ ระเบิดพ่นลาวาที่เป็นกำมะถันเหลวปกคลุมทั่วผิวไอโอ เมื่อครั้งที่ยานวอยเอเจอร์ผ่านไอโอได้จับภาพภูเขาไฟกำลังพ่นลาวาสูงถึง 240 กิโลเมตรยังทำให้สารทั้งหมดภายในดวงจันทร์ออกมาสู่ภายนอก

ไอโอ (Io) ดวงจันทร์ขนาดใหญ่อันดับ 3 มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3,642 กิโลเมตร อยู่ห่างจากดาวพฤหัส 421,600 กิโลเมตร โคจรอยู่รอบในสุดของกลุ่มดวงจันทร์กาลิเลียน 1 รอบกินเวลา 1 วัน 18 ชั่วโมง 27 นาที มีค่าความสว่างเมื่อมองจากโลกประมาณ mag 5.0

สล็อตออนไลน์

ไอโอ ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี มีสีเหลืองสด เพราะเกิดจากกำมะถันและหินซิลิเกตที่หลอมละลาย พื้นผิวที่ดูผิดปกติของไอโอนี้มีอายุน้อยมาก เกิดจากภูเขาไฟที่ยังมีพลังอยู่ ซึ่งภูเขาไฟจำนวนมากบนไอโอนี้เกิดจากแรงรบกวนจากแรงโน้มถ่วงอันมหาศาลของดาวพฤหัสบดีและดวงจันทร์กาลิเลียนดวงอื่นๆ แรงเสียดที่เกิดขึ้นจากการที่มันถูกแรงโน้มถ่วงดึงยืดอย่างรุนแรง ส่งผลให้เิกิดความร้อนขึ้นอย่างมหาศาลภายในดวงจันทร์ไอโอ จนทำให้หินหลอมเหลวภายในไอโอระเบิดออกมาสู่ภายนอก ภูเขาไฟอันทรงพลังของไอโอที่คอยระบายความร้อนภายในตัวดวงจันทร์ ระเบิดพ่นลาวาที่เป็นกำมะถันเหลวปกคลุมทั่วผิวไอโอ เมื่อครั้งที่ยานวอยเอเจอร์ผ่านไอโอได้จับภาพภูเขาไฟกำลังพ่นลาวาสูงถึง 240 กิโลเมตรยังทำให้สารทั้งหมดภายในดวงจันทร์ออกมาสู่ภายนอก

jumboslot

ก็นำมาฝากกันครับ สำหรับผู้ที่ชื่นชอบดวงดาว สำหรับเรื่องนี้ก็ไม่ได้มีเรื่องความสวยความงาม แต่เป็นเรื่องน่าอัศจรรย์ของดวงดาวดวงหนึ่งในระบบสุริยะของเรา  ยังคงมีเรื่องให้เราได้แปลกใจอีกมากมาย เพราะจักรวาลกว้างใหญ่เป็นอนันต์ วิทยาการอันก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์คงเผยสิ่งมหัศจรรย์แห่งดวงดาวให้เราได้ชื่นชมกันไปอีกนาน

ดาวพฤหัส ดาวเคราะห์ก๊าซยักษ์ใหญ่ ซึ่งปัจจุบันครองแช้มป์ดาวเคราะห์ที่มีดาวบริวารมากที่สุดคือ 40 ดวง แต่ในที่นี้เราจะมาพูดถึงดวงจันทร์ยักษ์ 4 ดวงสามารถมองเห็นได้จากบนโลก ซึ่งถูกเห็นครั้งแรกโดย กาลิเลโอ เมื่อปี คศ.1610 โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ที่กาลิเลโอประดิษฐ์ขึ้นเอง เราจึงเรียกว่า “ดวงจันทร์ของกาลิเลโอ (Galilean’s moon)” ประกอบด้วย ไอโอ(Io) ยูโรปา(Europa) แกนิมีด (Ganimede) และ คัลลิสโต (Callisto) ที่เหลือเป็นดวงจันทร์ขนาดเล็ก ถูกค้นพบโดยยานสำรวจอวกาศ

slot

ดวงจันทร์ไอโอเป็นดวงจันทร์ที่อยู่ใกล้ดาวพฤหัสบดีมากที่สุด ในบรรดาดวงจันทร์ 4 ดวงที่มีขนาดใหญ่สุดของดาวเคราะห์ดวงนี้

ดวงจันทร์ดวงนี้เป็นหนึ่งในวัตถุที่มีการประทุของภูเขาไฟมากที่สุดในระบบสุริยะ เนื่องจากดวงจันทร์ไอโอถูกแรงไทดัลของดาวพฤหัสบดีกระทำอย่างรุนแรง บนพื้นผิวของดวงจันทร์ไอโอปรากฏภูเขาไฟและกระแสธารลาวาที่ยังคุกรุ่นอยู่มากกว่า 400 แห่ง ในจำนวนนี้บางแห่งก็ถูกตรวจพบจากยานอวกาศที่เคลื่อนเข้าใกล้

ภูเขาไฟบนดวงจันทร์ไอโอพ่นซัลเฟอร์ (กำมะถัน) และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ออกมาจนถึงระดับความสูงราว 500 กิโลเมตรเหนือพื้นผิวดาว (ใกล้เคียงกับระยะทางจากกรุงเทพฯถึงตัวเมืองร้อยเอ็ด) และแก๊สที่พ่นออกมาเหล่านี้ก่อให้เกิดบรรยากาศบางๆของดวงจันทร์ไอโอ แต่ชั้นบรรยากาศนี้มีสภาพเป็นพิษเกินไปจนไม่สามารถหายใจได้

เมื่อเราพิจารณาดวงจันทร์ไอโออย่างใกล้ชิด จะเห็นว่าดวงจันทร์ดวงนี้มีภูเขามากกว่า 100 ลูกปรากฏเป็นจุดๆกระจายตัวกันอยู่บนพื้นผิวดาว ภูเขาบางแห่งก็สูงกว่าภูเขาเอเวอร์เรสต์บนโลกด้วย