star

หอดูดาว

หอดูดาว เป็นสถานที่สำหรับใช้สังเกตการณ์ท้องฟ้าและดวงดาว ในการศึกษาด้านดาราศาสตร์ หรือโหราศาสตร์ หอดูดาวทางดาราศาสตร์ในปัจจุบันมักก่อสร้างเป็นอาคารรูปโดมมีช่องเปิด ภายในมีกล้องโทรทรรศน์เพื่อใช้ขยายภาพท้องฟ้า สาเหตุที่ใช้อาคารมีช่องเปิด ก็เพื่อลดแสงรบกวนจากภายนอก ส่วนอาคารรูปโดมนั้นเหมาะกับประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น ในฤดูหนาวจะไม่มีหิมะค้างอยู่บนหลังคา อาคารโดมอาจติดตั้งกลไกการหมุนเพื่อติดตามดาว

joker123

หอดูดาวที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
อาบูซิมเบล อียิปต์ (en:Abu Simbel)
สโตนเฮนจ์ อังกฤษ (en:Stonehenge)
นครวัด กัมพูชา
โคคิโน มาซีโดเนีย (en:Kokino)
โกเซค เยอรมนี (en:Goseck)
ชอมซงแด เกาหลีใต้
รายชื่อหอดูดาว
หอดูดาวในต่างประเทศ
หอดูดาวลาซียา ชิลี
เดอะบิ๊กเอียร์ สหรัฐอเมริกา
หอดูดาวอาเรซีโบ เปอร์โตริโก (สหรัฐอเมริกา)
หอดูดาวแมกดาลีนาริดจ์ สหรัฐอเมริกา
หอดูดาวลิก สหรัฐอเมริกา
Very Large Array สหรัฐอเมริกา
Very Long Baseline Array สหรัฐอเมริกา

สล็อต

หอดูดาวหลวงกรีนิช สหราชอาณาจักร
หอดูดาวในประเทศไทย
หอดูดาวระดับชาติ
หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ 7 รอบพระชนมพรรษา เชียงใหม่
หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน[1] โดย สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ:
หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน ฉะเชิงเทรา อำเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา
หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน สงขลา อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หอดูดาวของสถาบันการศึกษาและหน่วยราชาการ
หอดูดาวสิรินธร ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ [1]
หอดูดาวกองทัพเรือ สมุทรปราการ
หอดูดาวมหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อยู่ที่เขื่อนจุฬาภรณ์ อำเภอคอนสาร ชัยภูมิ [2]
หอดูดาวมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อำเภอท่าศาลา นครศรีธรรมราช [3]
หอดูดาวสุริยะ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา แขวงหิรัญรูจี เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร [4]
หอดูดาวศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา รังสิต อำเภอธัญบุรี ปทุมธานี
หอดูดาวอุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ อำเภอเมือง ประจวบคีรีขันธ์ [5]

สล็อตออนไลน์

หอดูดาวเอกชน
หอดูดาวเกิดแก้ว อำเภอบ่อพลอย กาญจนบุรี [6]
หอดูดาวเขาน้อยสกายฮัท อำเภอปากช่อง นครราชสีมา [7]
หอดูดาว ภูพานน้อย องค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองบัวลำภู อ.เมือง จ.หนองบัวลำภู
โครงการก่อสร้าง หอดูดาวในประเทศไทย
หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน โดย สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ:
เครือข่ายภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบน – หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน พิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
เครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน – หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
ศูนย์ดาราศาสตร์เฉลิมพระเกียรติฯ โดย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.):
ศูนย์ดาราศาสตร์เฉลิมพระเกียรติฯ ภาคเหนือ จังหวัดลำปาง
ศูนย์ดาราศาสตร์เฉลิมพระเกียรติฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา
ศูนย์ดาราศาสตร์เฉลิมพระเกียรติฯ ภาคกลาง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ศูนย์ดาราศาสตร์เฉลิมพระเกียรติฯ ภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช

jumboslot

กล้องโทรทรรศน์ คืออุปกรณ์ที่ใช้ขยายวัตถุท้องฟ้าโดยอาศัยหลักการรวมแสง เพื่อให้สามารถมองเห็นวัตถุท้องฟ้าที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือทำให้มองเห็นได้ชัดขึ้น และมีขนาดใหญ่ขึ้น กล้องโทรทรรศน์ได้ถูกคิดค้นขึ้นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1608 โดยฮานส์ ลิเพอร์ซีช่างทำแว่นชาวฮอลแลนด์คนหนึ่งซึ่งต่อมาค้นพบว่าหากนำเลนส์มาวางเรียงกับให้ได้ระยะที่ถูกต้องเลนส์สามารถขยายภาพที่อยู่ไกลๆได้ใกล้ขึ้น และ 1 ปีต่อมา กาลิเลโอ กาลิเลอิ ก็ได้ นำมาสำรวจท้องฟ้าเป็นครั้งแรกซึ่งในตอนนั้นเป็นกล้องหักเหแสงที่มีกำลังขยายไม่ถึง 30 เท่า เท่านั้นแต่ก็ทำให้เห็นรายละเอียดต่างๆมากมายของดวงดาวต่างๆที่ยังไม่เคยเห็นมาก่อนทำให้เป็นจุดเริ่มต้นของการเริ่มมาสำรวจท้องฟ้าโดยใช้กล้องโทรทรรศน์

slot

กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง
กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสงเป็นกล้องที่ถูกสร้างขึ้นเป็นครั้งแรกโดยฮานส์ ลิเพอร์ซี ช่างทำแว่นชาวฮอลแลนด์คนหนึ่ง ซึ่งต่อมาค้นพบว่าหากนำเลนส์มาวางเรียงกันให้ได้ระยะที่ถูกต้องเลนส์สามารถขยายภาพที่อยู่ไกลๆได้ใกล้ขึ้น และ 1 ปีต่อมา กาลิเลโอ กาลิเลอี ก็ได้ นำมาสำรวจท้องฟ้าเป็นครั้งแรกโดยตัวกล้องจะมีเลนส์ 2 ตัวขึ้นไปคือ เลนส์วัตถุ และเลนส์ตา โดยเลนส์วัตถุจะทำหน้าที่รับภาพจากวัตถุ แล้วหักเหแสงไปยังเลนส์ใกล้ตา ซึ่งเลนส์ใกล้ตาจะทำหน้าที่ขยายภาพจากเลนส์วัตถุอีกทีหนึ่ง โดยลักษณะการวางเลนส์จะใช้เลนส์วัตถุที่มี ความยาวโฟกัส ยาว และเลนส์ใกล้ตาที่มีความยาวโฟกัสสั้น โดยในการวางเลนส์ จะวางเลนส์วัตถุ (ความยาวโฟกัสยาว) ไว้ด้านหน้า และเลนส์ใกล้ตา (ความยาวโฟกัสสั้น) ไว้ด้านหลัง โดยระยะห่างของเลนส์ 2 ตัวนี้คือ ความยาวโฟกัสเลนส์วัตถุ + ความยาวโฟกัสเลนส์ตา เป็นต้น

ตัวอย่างภาพดวงจันทร์ที่ได้จากกล้องโทรทรรศน์
สำหรับกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงของกาลิเลโอนั้น เลนส์วัตถุจะเป็นเลนส์นูน และเลนส์ตาจะเป็นจากเลนส์เว้า ซึ่งข้อดีของการใช้ระบบเลนส์แบบนี้คือภาพที่ได้จะเป็นภาพหัวตั้งโดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์อื่นมาช่วย แต่ข้อเสียของการใช้เลนส์เว้าเป็นเลนส์ตาคือระบบกล้องจะมีมุมมองภาพที่แคบมาก ต่อมา โยฮันเนส เคปเลอร์ได้ใช้เลนส์นูนเป็นเลนส์ตาของกล้องโทรทรรศน์แทน ซึ่งทำให้ระบบกล้องโทรทรรศน์ให้ภาพกลับหัว และมีมุมมองภาพกว้างขึ้น ระบบเลนส์แบบนี้ได้ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน