star

ยานวอยเอจเจอร์2

ยานอวกาศ (อังกฤษ: spacecraft) คือยานพาหนะ ยานหรือเครื่องยนต์ที่ออกแบบมาเพื่อบินไปในอวกาศ ยานอวกาศถูกนำมาใช้สำหรับวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย รวมถึงการสื่อสารโทรคมนาคม การสังเกตโลก การอุตุนิยมวิทยา การนำทาง การสำรวจดาวเคราะห์และการขนส่งมนุษย์และสินค้า

joker123

ในการบินในอวกาศแบบวงโคจรย่อย ยานอวกาศเข้าสู่อวกาศด้านนอก จากนั้นก็กลับมายังพื้นผิวโลกโดยไม่ได้ขึ้นไปสู่วงโคจรหลัก. แต่สำหรับการบินในอวกาศแบบวงโคจรหลัก (อังกฤษ: orbital spaceflight) ยานอวกาศเข้าสู่วงโคจรปิดรอบโลกหรือรอบวัตถุนอกโลกหรือดวงดาวอื่นๆ ยานอวกาศที่ใช้สำหรับการบินของมนุษย์จะบรรทุกลูกเรือหรือผู้โดยสารบนยานจากจุดเริ่มต้นหรือสถานีอวกาศในวงโคจรเท่านั้น ในขณะที่ ยานที่ใช้สำหรับภารกิจหุ่นยนต์อวกาศจะทำงานด้วยตนเองหรือจากระยะไกลอย่างใดอย่างหนึ่ง ยานอวกาศหุ่นยนต์ที่ใช้เพื่อสนับสนุนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เป็นยานสำรวจอวกาศ ยานอวกาศหุ่นยนต์ที่ยังคงอยู่ในวงโคจรรอบโลกเป็นดาวเทียม มีเพียงยานสำรวจระหว่างดวงดาวไม่กี่ลำเช่นไพโอเนียร์ 10 และ 11, Voyager 1 และ 2, และ New Horizons ที่ปัจจุบันยังอยู่ในวงโคจรที่หลุดออกจากระบบสุริยะของเรา

สล็อต

ยานอวกาศที่อยู่ในวงโคจรอาจจะสามารถกู้คืนได้แต่บางทีก็ไม่ได้. โดยวิธีการย้อนกลับไปยังโลก พวกมันอาจจะถูกแบ่งออกเป็นแคปซูลที่ไม่มีปีกหรือเครี่องบินอวกาศที่มีปีก

ปัจจุบันมนุษย์ได้ประสบความสำเร็จในการบินในอวกาศ แต่มีเพียงยี่สิบสี่ประเทศเท่านั้นที่มีเทคโนโลยีอวกาศเช่น รัสเซีย (Roscosmos, กองกำลังอวกาศรัสเซีย), สหรัฐอเมริกา (นาซ่า, กองทัพอากาศสหรัฐและอีกหลายบริษัทการบินอวกาศเชิงพาณิชย์), รัฐสมาชิกขององค์การอวกาศยุโรป, สาธารณรัฐประชาชนจีน (องค์การบริหารอทวกาศแห่งชาติจีน), ญี่ปุ่น (สำนักงานสำรวจอวกาศญี่ปุ่น) และอินเดีย (องค์การวิจัยอวกาศอินเดีย)

วอยเอจเจอร์ 2 (อังกฤษ: Voyager 2) คือยานสำรวจอวกาศแบบไม่มีคนบังคับที่เดินทางระหว่างดาวเคราะห์ ขึ้นสู่อวกาศเมื่อ 20 สิงหาคม ค.ศ. 1977 เป็นยานสำรวจอวกาศในโครงการวอยเอจเจอร์ ซึ่งมียานพี่อีกลำหนึ่งคือยานวอยเอจเจอร์ 1

ยานวอยเอจเจอร์ 2 ถูกส่งขึ้นไปให้โคจรเป็นเส้นโค้งตามระนาบสุริยวิถี โดยเตรียมการให้สามารถเดินทางเข้าใกล้ดาวยูเรนัสและดาวเนปจูน ด้วยการอาศัยแรงเหวี่ยงจากแรงโน้มถ่วงของดาวเสาร์ซึ่งมันจะต้องเดินทางผ่านในปี ค.ศ. 1981 จากเส้นทางโค้งนี้ทำให้วอยเอจเจอร์ 2 ไม่สามารถมองเห็นดวงจันทร์ไททันในระยะใกล้ได้เหมือนกับยานวอยเอจเจอร์ 1 แต่มันก็ได้เป็นยานเพียงลำเดียวที่ได้เดินทางไปใกล้ดาวยูเรนัสกับดาวเนปจูน ซึ่งเป็นการบรรลุภารกิจของโครงการสำรวจดาวเคราะห์ครั้งใหญ่ (Planetary Grand Tour) เส้นการเดินทางนี้สามารถทำได้เพียงครั้งเดียวในรอบ 176 ปี[4]

สล็อตออนไลน์

จากสถิติ วอยเอจเจอร์ 2 อาจเป็นยานสำรวจอวกาศที่มีประสิทธิผลมากที่สุด ด้วยผลงานคือการไปเยือนดาวเคราะห์ 4 ดวงพร้อมกับดวงจันทร์ของมัน โดยเฉพาะดาวเคราะห์ 2 ใน 4 ดวงนั้นเป็นดาวเคราะห์ที่ยังไม่เคยมีการสำรวจมาก่อน บนยานติดตั้งกล้องถ่ายภาพและเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ขั้นสูง โดยใช้งบประมาณเพียงเสี้ยวเดียวของเงินงบประมาณที่ทุ่มให้กับยานสำรวจอวกาศในชั้นหลัง เช่น ยานกาลิเลโอ ยานแคสสินี-ไฮเกนส์[5][6]

ตำแหน่งปัจจุบัน
หลังจากสิ้นสุดภารกิจการสำรวจดาวเคราะห์ชั้นนอกของระบบสุริยะ ยานวอยเอจเจอร์ 2 ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติภารกิจระหว่างดาวฤกษ์ เพื่อค้นหาว่าระบบสุริยะมีหน้าตาเป็นอย่างไรเมื่อมองจากภายนอกเฮลิโอสเฟียร์ เดือนตุลาคม ค.ศ. 2007 วอยเอจเจอร์ 2 ได้เดินทางออกไปยังเฮลิโอชีท ซึ่งเป็นด่านสุดท้ายของเฮลิโอสเฟียร์ก่อนจะออกไปสู่ห้วงอวกาศระหว่างดาว ยานวอยเอจเจอร์ทั้ง 2 ลำได้นำแผ่นดิสค์ทองคำบันทึกภาพและเสียงติดไปบนยานด้วย เผื่อในกรณีที่ว่าลำใดลำหนึ่งอาจได้พบกับสิ่งมีชีวิตอื่นที่มีสติปัญญาในจักรวาล แผ่นดิสค์นี้มีภาพของโลก สิ่งมีชีวิตบนโลก ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และเสียงบันทึกแบบเมดเล่ย์ของ “เสียงแห่งโลก” เช่นเสียงของวาฬ เสียงเด็กทารก เสียงคลื่นกระทบฝั่ง และบทเพลงอีกจำนวนมาก

jumboslot

26 กันยายน ค.ศ. 2008 วอยเอเจอร์ 2 อยู่ในเขตแดนไกลโพ้นของแถบหินกระจาย ที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ราว 87.03 AU (13,019 ล้านกิโลเมตร) และเคลื่อนที่ห่างออกไปด้วยความเร็วประมาณ 3.28 AU ต่อปี[7] ซึ่งอยู่ไกลกว่าระยะห่างระหว่างดาวพลูโตกับดวงอาทิตย์มากกว่า 2 เท่า ไกลยิ่งกว่าจุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุดของเซดนา

ข้อมูล ณ วันที่ 17 มกราคม ค.ศ. 2009 วอยเอจเจอร์ 2 อยู่ที่เดคลิเนชัน -53.84° และไรต์แอสเซนชัน 19.783 ชม. ในบริเวณกลุ่มดาวกล้องโทรทรรศน์เมื่อมองจากโลก ยานวอยเอจเจอร์ 2 ไม่ได้ตั้งเป้าหมายมุ่งไปยังดาวฤกษ์ดวงใดเป็นการเฉพาะ แต่มันจะเดินทางผ่านดาวซิริอุสที่ระยะห่างประมาณ 1.32 พาร์เซกในอีก 296,000 ปี[8] ยานจะยังคงส่งสัญญาณกลับมายังโลกอย่างน้อยจนถึงปี ค.ศ. 2025 ซึ่งจะเป็นเวลากว่า 48 ปีหลังจากขึ้นสู่อวกาศ[9]

slot

ยานอวกาศที่มีมนุษย์
ดูเพิ่มเติม: รายชื่อของยานอวกาศที่มีมนุษย์และการบินในอวกาศของมนุษย์

ยานอวกาศลำแรก, Vostok 1
ณ ปี 2011, มีเพียงสามประเทศเท่านั้นที่ทำการบินด้วยยานอวกาศที่มีมนุษย์ ได้แก่ USSR/รัสเซีย, สหรัฐอเมริกาและจีน. อินเดีย, ญี่ปุ่น, ยุโรป/อีเอสเอ, อิหร่าน, เกาหลีใต้, เกาหลีเหนือ, เดนมาร์กและโรมาเนียมีแค่แผนสำหรับยานอวกาศที่มีมนุษย์ (จรวด suborbital ที่มีมนุษย์)

ยานอวกาศที่มีมนุษย์ลำแรกคือ Vostok 1 ซึ่งบรรทุกนักบินอวกาศโซเวียต ยูริ กาการิน ขึ้นสู่อวกาศในปี 1961 และบินรอบโลกสำเร็จ ยังมีภารกิจอื่นอีกห้าครั้งที่ใช้ในยานอวกาศ Vostok ได้ ยานอวกาศลำที่สองชื่อ Freedom 7 ซึ่งสามารถเดินทางในวงโคจรย่อยในปี 1961 เช่นกันโดยบรรทุกนักบินอวกาศชาวอเมริกัน อลัน เชพเพิร์ทขึ้นสู่ความสูงกว่า 187 กิโลเมตร (116 ไมล์) มีภารกิจอื่นอีกห้าครั้งที่ใช้ยานอวกาศ Mercury

ยกเว้นกระสวยอวกาศ, ส่วนของยานอวกาศที่มีมนุษย์ที่สามารถกู้คืนได้เป็นแคปซูลอวกาศ

สถานีอวกาศนานาชาติมีมนุษย์ประจการำตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนปี 2000 เป็นการร่วมการงานระหว่างรัสเซีย, สหรัฐอเมริกา, แคนาดาและประเทศอื่นๆอีกหลายประเทศ