star

การสังเกตทางช้างเผือก

ในคืนที่ฟ้ามืดไร้เมฆ และปราศจากแสงรบกวน เราจะมองเห็นแถบฝ้าสีขาวคล้ายเมฆ พาดยาวข้ามขอบฟ้า มิว่าลมจะพัดแรงเพียงใด แถบฝ้านี้ก็ยังคงอยู่ คนโบราณเรียกแถบฝ้าสว่างนี้ว่า “ทางช้างเผือก” หรือ “ทางน้ำนม” ปัจจุบันนักดาราศาสตร์ทราบดีแล้วว่า แถบฝ้าสว่างที่เห็น แท้จริงนั่นคือ อาณาจักรของดาวจำนวนมหาศาล ซึ่งเรียกว่า “กาแล็กซี” (Galaxy) กาแล็กซีของเรามีชื่อว่า “กาแล็กซีทางช้างเผือก” (The Milky Way galaxy) ที่เรียกเช่นนี้เป็นเพราะ คนไทยในสมัยโบราณเชื่อว่า พระมหากษัตริย์เป็นโอรสของสวรรค์ อวตารลงมาเกิดเป็นมนุษย์ และมีช้างเผือกเป็นสัตว์คู่บารมี จึงมีความเชื่อว่ามีทางช้างเผือกอยู่บนสวรรค์

joker123

กาแล็กซีทางช้างเผือกประกอบด้วย ดาวฤกษ์จำนวนนับพันล้านดวง ดาวฤกษ์แต่ละดวงอาจจะมีดาวเคราะห์อีกหลายดวง และระบบสุริยะของเรา ก็เป็นสมาชิกหนึ่งในนั้น หากส่องกล้องมองไปที่ทางช้างเผือก เราจะเห็นดวงดาวจำนวนมหาศาล มากมายเต็มไปหมดจนนับไม่ถ้วน คล้ายกับจำนวนเม็ดทรายบนชายหาด

ทางช้างเผือกพาดผ่านกลุ่มดาวสว่างดังนี้ กลุ่มดาวแคสสิโอเปีย (ค้างคาว) เพอร์เซอุส สารถี คนคู่ กางเขนใต้ แมงป่อง คนยิงธนู นกอินทรี และกลุ่มดาวหงส์ (ดูแผนที่ดาววงกลมประกอบ) ถ้าหากแกนหมุนของโลกตั้งฉากกับระนาบของกาแล็กซี เราจะมองเห็นทางช้างเผือกเป็นทางยาวคาดท้องฟ้าในแนวตะวันออก-ตะวันตก ทว่าความเป็นจริง แกนหมุนของโลกทำมุมเอียง กับระนาบของกาแล็กซีประมาณ 60 องศา และโลกก็หมุนรอบตัวเองอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นเราจึงมองเห็นทางช้างเผือกพาดยาวข้ามขอบฟ้า โดยมีทิศทางการวางตัวบนท้องฟ้า เปลี่ยนแปลงไปอย่างช้าๆ ตลอดเวลา บางเวลาก็อยู่ในแนวเหนือ-ใต้ บางเวลาก็อยู่ในแนวเฉียง เป็นต้น

อนึ่ง การสังเกตการณ์ทางช้างเผือก จะทำได้ต่อเมื่ออยู่ในที่มืดสนิด ในชนบท หรือ ป่าเขา ท้องทะเล และไม่มีแสงจันทร์รบกวนเท่านั้น ดังนั้นในการดูทางช้างเผือก จะต้องมีการเตรียมการวางแผน ศึกษาเวลาการขึ้น-ตกของดวงจันทร์ ซึ่งสามารถคำนวณได้จากปฏิทิน (ดวงจันทร์ขึ้นช้าวันละ 50 นาที) หรือศึกษาด้วยซอฟต์แวร์แผนที่ดาวมาก่อน

สล็อต

เมื่อมองจากอวกาศ

กาแล็กซีของเรามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100,000 ปีแสง มีรัศมี 50,000 ปีแสง (1 ปีแสง เท่ากับ ระยะทางซึ่งแสงใช้เวลาเดินทางนาน 1 ปี หรือ 9.5 ล้านล้านกิโลเมตร) และหนาประมาณ 2,000 ปีแสง ดังนั้นดวงดาวบนท้องฟ้าที่เรามองเห็นเป็นกลุ่มดาว ล้วนอยู่ห่างออกไปเป็นระยะทางไม่เกิน 2,000 ปีแสงทั้งนั้น เมื่อเรามองไปตามแนวระนาบของทางช้างเผือก เราจะมองเห็นฝ้าขาวสว่างของดาวในทางช้างเผือก ซึ่งอยู่ห่างไกลนับหมื่นปีแสง และเมื่อมองไปในทิศระหว่าง กลุ่มดาวแมงป่องและกลุ่มดาวคนยิงธนู จะเห็นว่าทางช้างเผือกในบริเวณนั้น กว้างใหญ่และสว่างเป็นพิเศษ ทั้งนี้เป็นเพราะเรากำลังมองเข้าไปตรงศูนย์กลางของกาแล็กซี

ทางช้างเผือกมิใช่มีแต่เพียงฝ้าสว่างสีขาว แต่ยังมีฝ้าทึบสีดำด้วย ในบางบริเวณของกาแล็กซีมีก๊าซและฝุ่นอยู่อย่างหนาทึบ ดังเช่น บนระนาบของกาแล็กซี สสารอุณหภูมิต่ำเหล่านี้ บดบังความสว่างของดาวที่อยู่เบื้องหลัง (ในทำนองเดียวกับเนบิวลามืด ซึ่งบังแสงของดาวสว่าง) เมื่อมองดูด้วยตาเปล่า เราจึงอาจเข้าใจผิดว่า คิดว่ามีช่วงว่างของอวกาศ แทรกอยู่ระหว่างทางช้างเผือก แต่เมื่อศึกษาด้วยภาพถ่ายแล้ว จะพบว่า สีดำที่เห็นเหล่านั้น ล้วนเป็นกลุ่มก๊าซอันหนาทึบ

สล็อตออนไลน์

ในค่ำคืนที่มืดสนิทไม่มีแสงไฟหรือแสงดวงจันทร์ เรามักจะมีโอกาสได้เห็นแถบสีขาวจางพาด ผ่าน ท้องฟ้าโดยมากจะพาดจากขอบฟ้าด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งในบริเวณที่มีมลภาวะทางอากาศรบกวนแถบนี้จะจางจนหลายคนไม่ได้ให้ความสนใจหรือบางครั้งก็เข้าใจว่าเป็นเพียงเมฆบางๆ ในเวลากลางคืนเท่านั้น แต่หากสังเกตจากป่าเขาที่อยู่ห่างไกลเขตเมือง หรือยอดดอยสูงตามอุทยานแห่งชาติต่างๆ ที่ไม่มีมลภาวะแถบฝ้าดังกล่าวจะปรากฏสุกสว่างโดดเด่นอยู่บนท้องฟ้าเป็นภาพที่น่าประทับใจแก่ผู้สังเกต

ใช่แล้วครับแถบฝ้านี้คือ “ทางช้างเผือก” นั่นเองครับ

โลกของเราอยู่ในระบบสุริยะ และระบบสุริยะก็อยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือกครับ ผมพยายามลำดับจากน้อยไปหาใหญ่นะครับ ในคืนเดือนมืดที่ไม่มีแสงจันทร์รบกวนถ้าเรามองขึ้นไปบนท้องฟ้า จะเห็นเป็นแทบสีขาวพาดอยู่ ชาวกรีกจินตนาการว่าเป็นเสมือนทางน้ำนม จึงเรียกว่า “The Milky way” สำหรับคนไทยจินตนาการว่าเป็นทางเดินของช้างเผือก จึงเรียกว่า “ทางช้างเผือก”

กาแล็กซีทางช้างเผือก เป็นบริเวณที่ประกอบด้วยดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ บริเวณของดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต รวมทั้งแก๊สและฝุ่นธุลีในอวกาศกาแล็กซีเป็นส่วนหนึ่งของเอกภพ ถ้ามองจากด้านบนจะเห็นเป็นรูปทรงกลมหมุนรอบตัวเองแบบทวนเข็มนาฬิกา แต่ถ้ามองด้านข้างจะเห็นคล้ายจานแบน แต่หากมองจากบนโลกจะเห็นเป็นแนวฝ้าขาว พาดจากขอบฟ้าด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง

jumboslot

ทางช้างเผือกพาดผ่านกลุ่มดาวสว่างเช่น กลุ่มดาวแคสสิโอเปีย (ค้างคาว) เพอร์เซอุส สารถี คนคู่ กางเขนใต้ แมงป่อง คนยิงธนู นกอินทรี และกลุ่มดาวหงส์ ท่านสามารถดูแผนที่ดาวประกอบ โดยแกนหมุนของโลกทำมุมเอียง กับระนาบของกาแล็กซีประมาณ 60 องศา และโลกก็หมุนรอบตัวเองอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นเราจึงมองเห็นทางช้างเผือกพาดยาวข้ามขอบฟ้า โดยมีทิศทางการวางตัวบนท้องฟ้า เปลี่ยนแปลงไปอย่างช้าๆ ตลอดเวลา บางเวลาก็อยู่ในแนวเหนือ-ใต้ บางเวลาก็อยู่ในแนวเฉียง เป็นต้น

การสังเกตทางช้างเผือก
การสังเกตทางช้างเผือกควรจะสังเกตจากบริเวณที่มืดสนิทและมีมลภาวะทางอากาศน้อย เช่น พื้นที่ในชนบทหรือตามป่าเขา ในคืนเดือนมืดที่ไม่มีแสงดวงจันทร์รบกวน หากไม่แน่ใจว่าทางช้างเผือกอยู่ ณ ตำแหน่งใดบนท้องฟ้า ควรใช้แผนที่ดาวประกอบการสังเกต ช่วงเวลาที่สังเกตทางช้างเผือกได้ดีที่สุดคือ ช่วงปลายเดือนเมษายน – ต้นเดือนตุลาคม เพราะสามารถเห็นทางช้างเผือกบริเวณกลุ่มดาวแมงป่องและคนยิงธนูได้ง่าย ทางช้างเผือกบริเวณนี้สว่างและสวยงามกว่าบริเวณอื่นๆ เนื่องจากเป็นมุมมองที่เรามองเข้าไปยังศูนย์กลางทางช้างเผือก

slot

ทำความเข้าใจกันก่อนครับ
สำหรับผู้ที่ต้องการจะถ่ายภาพ ช่วงเวลาที่ดีที่สุดจะอยู่ในช่วงปลายเดือนเมษายน (ช่วงใกล้รุ่งสาง) ถึงเดือนมิถุนายน เพราะช่วงหลังจากนี้จะเข้าฤดูฝน ทำให้โอกาสที่ฟ้าจะเปิดมีน้อยลงแต่หากโชคดีฟ้าเปิดไม่มีเมฆ และได้มีโอกาสสังเกตหรือถ่ายภาพทางช้างเผือกในช่วงฤดูฝน (ช่วงเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม) ภาพที่เห็นจะเป็นภาพที่น่าตื่นตาตื่นใจที่สุด เพราะในช่วงสองเดือนนี้ทางช้างเผือกส่วนที่สว่างที่สุดจะปรากฏพาดจากทิศใต้ผ่านกลางท้องฟ้าขึ้นไปยังทิศเหนือ คล้ายกับจะแบ่งท้องฟ้าออกเป็นสองส่วน

ในการถ่ายภาพทางช้างเผือกนอกจากเราจะสามารถเก็บภาพดวงดาวเป็นจุดละเอียดคล้ายเม็ดทรายทั่วทั้งภาพแล้ว ยังจะได้วัตถุพวกกระจุกดาวและเนบิวลาน้อยใหญ่มากมายกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป

อุปกรณ์ที่ใช้ในการถ่ายภาพ

  1. กล้องดิจิตอล
  2. ขาตั้งกล้อง
  3. สายลั่นชัตเตอร์
  4. แผนที่ดาว
  5. เข็มทิศ

เทคนิคและวิธีการ
ในการถ่ายภาพทางช้างเผือกนั้นมีวิธีการที่คล้ายกับการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์ทั่วไปแต่จะแตกต่างกันตรงที่ เป็นการถ่ายในเวลากลางคืนซึ่งมีแสงน้อยกว่ามากเท่านั้น เราเรียกภาพประเภทนี้ว่าภาพแนว Skyscape และแน่นอนครับหากใครที่มีกล้องดิจิตอลที่สามารถเพิ่มความไวแสงได้มากๆ ก็จะได้เปรียบครับเพราะสามารถเก็บแสงได้เร็วกว่าในเวลาอันสั้น โดยวิธีการถ่ายภาพทางช้างเผือกนั้นถ่ายได้ 2 วิธีครับ คือการถ่ายภาพแบบให้กล้องเคลื่อนที่ทางช้างเผือก กับ การถ่ายภาพแบบไม่เคลื่อนที่ทางช้างเผือก แต่สำหรับคอลัมน์นี้จะขออธิบายเทคนิคและวิธีการถ่ายภาพแบบไม่เคลื่อนที่ทางช้างเผือก ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายและไม่ยุ่งยากดังนี้